14 ม.ค. 2565

993

Googlebot เก็บข้อมูลเว็บไซต์แบบไหนบ้าง by seo-winner.com

Googlebot เก็บข้อมูลเว็บไซต์แบบไหนบ้าง

Google มีการรวบรวมข้อมูลเว็บไซต์สองแบบ คือเว็บไซต์ที่อัปเดตเนื้อหาใหม่ และเว็บไซต์ที่รีเฟรชเนื้อหาที่เผยแพร่แล้ว

เมื่อเราตรวจสอบความถี่ที่ Googlebot เข้าเก็บข้อมูลในเว็บไซต์ของเราผ่าน Google Search Console เราจะพบว่ามีบางช่วงที่เว็บไซต์ของเราได้รับการเก็บข้อมูลถี่กว่าช่วงอื่นๆ ซึ่งการผันผวนของความถี่ในการเก็บข้อมูลนั้นถือว่าเป็นเรื่องปกติมาก

การเก็บรวบรวมข้อมูลของ Googlebot บนเว็บไซต์ที่อัปเดตเนื้อหาใหม่

เมื่อเราเพิ่มเนื้อหาใหม่ลงในเว็บไซต์ Googlebot ก็จะเข้ามาเก็บข้อมูลที่หน้านั้น ซึ่งเป็นการพยายามค้นหาหน้าใหม่บนเว็บไซต์ของ Googlebot นั่นเอง 

การเก็บรวบรวมข้อมูลของ Googlebot บนเว็บไซต์ที่รีเฟรชเนื้อหาที่เผยแพร่แล้ว

เป็นการเก็บข้อมูลบนเว็บไซต์เมื่อเรารีเฟรชเนื้อหาที่เคยเผยแพร่มาแล้ว และ Googlebot จะเข้ามาเก็บข้อมูลก็ต่อเมื่อเรามีการอัปเดตหน้าที่มีอยู่แล้วเท่านั้น เช่น หากเราอัปเดตหน้าแรกบ่อยกว่าหน้าอื่นๆ เราก็จะเห็นกิจกรรมของ Googlebot ในหน้านั้นมากขึ้นตามไปด้วย

อย่างไรก็ตาม ความถี่ในการเก็บข้อมูลในแต่ละเว็บไซต์มักจะแตกต่างกันไป และอาจแตกต่างกันไปตามหน้าเว็บไซต์ในแต่ละหน้าด้วย

เว็บไซต์บางประเภทมีแนวโน้มที่จะถูกรวบรวมข้อมูลมากกว่าเว็บไซต์อื่นๆ เช่น เว็บไซต์ข่าวที่อัปเดตเนื้อหาวันละหลายครั้ง ซึ่ง Googlebot มีความสามารถในการจดจำความถี่ที่เราลงเนื้อหา จึงมักจะมีการปรับความถี่ในการเก็บข้อมูลให้เหมาะสม 

ดังนั้น หากเรามีเว็บไซต์ข่าวและอัปเดตทุกชั่วโมง Googlebot ก็จะเรียนรู้ที่จะเข้ามาเก็บข้อมูลทุกชั่วโมง ในขณะที่เว็บไซต์ข่าวที่อัปเดตเดือนละครั้ง ก็ไม่จำเป็นสำหรับ Googlebot ที่จะเข้ามาเก็บข้อมูลทุกชั่วโมงนั่นเอง

อย่างไรก็ตาม ความถี่ในการเข้ามาเก็บข้อมูลเว็บไซต์ไม่ใช่สัญญาณที่จะบ่งบอกคุณภาพ หรืออันดับของเว็บไซต์เสมอไป เพราะมันเป็นเพียงกระบวนการทางเทคนิคของ Google เท่านั้น ที่สำคัญคุณภาพและอันดับของเว็บไซต์ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ดังนั้นอย่าตื่นตระหนกหากสังเกตว่า Googlebot เข้ามาชมเว็บไซต์ของเราบ่อยขึ้นหรือน้อยลง

 

 

 

 

อ้างอิง: Google Has Two Types Of Crawling - Discovery & Refresh (searchenginejournal.com)

 

บทความ

ACE Indicator System เชื่อมโยงการตลาดกับ SEO

ACE Indicator System เชื่อมโยงการตลาดกับ SEO

ACE Indicator System และการใช้ SEO เข้าใจความเชื่อมโยงเพื่อผลลัพธ์ที่ดีขึ้น การนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกันจะช่วยให้สามารถปรับปรุงอันดับเว็บไซต์ในผลการค้นหาของ Google ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ... อ่านเพิ่มเติม

PageSpeed Insights กับ GTmetrix

PageSpeed Insights กับ GTmetrix

PageSpeed Insights กับ GTmetrix เป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมในการวัดประสิทธิภาพและความเร็วของเว็บไซต์ ช่วยให้ผู้พัฒนาเว็บไซต์สามารถระบุปัญหาที่ทำให้เว็บไซต์โหลดช้า ... อ่านเพิ่มเติม

Total Blocking Time คืออะไร

Total Blocking Time คืออะไร

Total Blocking Time (TBT) เป็นหนึ่งในเมตริกที่ใช้ในการวัดประสิทธิภาพของเว็บไซต์ โดยวัดระยะเวลาที่เว็บไซต์ถูกบล็อกจากการตอบสนองต่อผู้ใช้ เนื่องจาก JavaScript ที่ใช้เวลานานในการทำงาน ... อ่านเพิ่มเติม

ทำไมการทำเว็บไซต์ต้องรู้จัก Core Web Vitals

ทำไมการทำเว็บไซต์ต้องรู้จัก Core Web Vitals

ทำไมการทำเว็บไซต์ต้องรู้จัก Core Web Vitals ชุดของเมตริกที่ Google ใช้ในการวัดประสบการณ์ของผู้ใช้ (User Experience UX) บนเว็บไซต์ ซึ่งเป็นปัจจัยการจัดอันดับของ Google ... อ่านเพิ่มเติม

Topical Authority  กับการจัดอันดับเว็บไซต์

Topical Authority กับการจัดอันดับเว็บไซต์

Topical Authority กับการจัดอันดับเว็บไซต์ เมื่อ Google มองว่าเว็บไซต์มีความรู้และความเชี่ยวชาญในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งเป็นพิเศษ เว็บไซต์นั้นก็จะได้รับการจัดอันดับที่สูงขึ้นในผลการค้นหา ... อ่านเพิ่มเติม

ปลั๊กอิน Elementor สำหรับคนทำ Wordpress

ปลั๊กอิน Elementor สำหรับคนทำ Wordpress

ปลั๊กอิน Elementor สำหรับคนทำ Wordpress ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ใช้งานง่ายและฟีเจอร์ที่หลากหลาย ทำให้สามารถสร้างหน้าเว็บไซต์ที่สวยงามและเป็นมืออาชีพได้โดยไม่ต้องเขียนโค้ดเลย ... อ่านเพิ่มเติม

Content Uniqueness คอนเทนต์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว

Content Uniqueness คอนเทนต์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว

Content Uniqueness ความเป็นเอกลักษณ์ของคอนเทนต์ ความโดดเด่นและแตกต่างของเนื้อหาที่สามารถสร้างความสนใจและดึงดูดผู้ชมได้เป็นอย่างดี ... อ่านเพิ่มเติม

Key Takeaway ทำ SEO สำหรับคนงบน้อย

Key Takeaway ทำ SEO สำหรับคนงบน้อย

Key Takeaway ทำ SEO สำหรับคนงบน้อย เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการทำ SEO โดยช่วยให้สร้างเนื้อหาที่มีคุณค่า, เพิ่มการเข้าชม, และปรับปรุงอันดับเว็บไซต์ในผลการค้นหา ... อ่านเพิ่มเติม

เทคนิค SXO (Search Experience Optimization)

เทคนิค SXO (Search Experience Optimization)

เทคนิค SXO (Search Experience Optimization) เป็นการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ตอบโจทย์ทั้งผู้ใช้และเครื่องมือค้นหา ทำให้เว็บไซต์มีโอกาสปรากฏในอันดับต้น ๆ ของผลการค้นหา ... อ่านเพิ่มเติม